วันเสาร์ที่ 18 เมษายน พ.ศ. 2563

HDD หรือ Hard disk คืออะไร?

HDD หรือ Hard disk

HDD หรือ Hard disk คืออะไร

ก่อนอื่นต้องบอกก่อนว่า HDD หรือ Hard disk ทำหน้าที่อะไรแบบใหน บนเครื้องคอมพิวเตอร์ HDD หรือ Hard disk นั้นคือหน่วยความจำหลักที่เอาไว้เก็บขอมูลต่างๆในเครื้องคอมพิวเตอร์นั้นๆ หรือระบบปฏิบัตการต่างๆ เช่น windows หรือรูป และ วีดีโอ รวมถึงไฟล์ สำคัญๆ พูดง่ายๆเลยก็คือ HDD หรือ Hard disk นั้นเป็นหน่วยความจำหรือ สมองหลักนั้นเอง


HDD หรือ Hard disk มืกี่รูปแบบ

HDD หรือ Hard disk นั้นหลักๆเลยก็จะมี 3 รูปแบบหลักๆเลยที่จะพูดถึง แบบเก่าที่ไม่นิยมใช้แล้วไม่ขอพูดละกัน

1.คือแบบ SATA หรือ Serial ATA

SATA นั้นเป็นเทคโนโลยีใหม่ที่ถูกเริ่มใช้ราวๆปี 2545 จุดเด่นภายนอกคือมีขนาดที่เล็กลงอย่างมาก ทั้งตัว Hard disk และสาย(SATA) ทำให้มีต้นทุนที่ถูกลง ในขณะที่เจ้าตัว SATA เองมีการรับส่งข้อมูลที่รวดเร็วขึ้นอย่างมาก จึงได้รับความนิยมที่แพร่หลาย ใช้ใน PC ทั่วไปและ SERVER บางรุ่น

2.คือแบบ Serial Attached SCSI หรือ (SAS)

SAS ทำหน้าในการรับส่งข้อมูลผ่าน Protocol ในรูปแบบ Point to Point ระหว่าง Hard drive และ Tape Drive โดยผ่านตัวควบคุม (controller) แบบอนุกรม Serial Attached SCSI (SAS) ถูกนำมาใช้รับส่งข้อมูลแทนการส่งข้อมูลแบบขนาน (SCIS) แต่ยังคงใช้คำสั่งของ (SCIS) อยู่ เพียงแต่ได้ถูกปรับปรุงให้มีประสิทธิภาพที่ดีขึ้น

3.คือแบบ Solid-State Drive หรือเรียกสั้นๆ (SSD)

ส่วนตั้วนี้เป็นตัวที่เร็วมากๆ นิยมใช้ในเรื้องของคนที่ชอบความเร็วในการส่งขอมูล และ เอาไปลง windows หรือ คนที่เล่นเกมส์จำพวกเลนเดอร์บ้าน และ แผนที่ใหญ่ SAS ทำหน้าในการรับส่งข้อมูลผ่าน Protocol ในรูปแบบ Point to Point ระหว่าง Hard drive และ Tape Drive โดยผ่านตัวควบคุม (controller) แบบอนุกรม Serial Attached SCSI (SAS) ถูกนำมาใช้รับส่งข้อมูลแทนการส่งข้อมูลแบบขนาน (SCIS) แต่ยังคงใช้คำสั่งของ (SCIS) อยู่ เพียงแต่ได้ถูกปรับปรุงให้มีประสิทธิภาพที่ดีขึ้น

แล้วเรามาดูความจุของ Hard disk

หมายถึงเนื้อที่ในการบันทึกข้อมูล ยิ่งมีความจุมาก ยิ่งบันทึกข้อมูลได้มากยิ่งขึ้น ความจุของ Hard disk มีหน่วยเป็น MB ในสมัยก่อน ปัจจุบันได้ถูกพัฒนาให้สามารถเก็บข้อมูลได้มากยิ่งขึ้น โดยมีหน่วยเป็นหน่วยเป็น GB (1GB = 1,024MB) จนถึงมีหน่วยเป็น TB (1TB = 1,024GB) โดยที่ขนาดที่ได้รับความนิยมในปัจจุบันจะมีตั้งแต่ 500GB ไปจนถึง 16TB

by.saharat

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น